กรณีศึกษาทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI) ที่ไม่ใช่ผู้สูงอายุและมีระดับ LDL-C สูงมาก

06 Sep 2024 byอ. นพ.โชติช่วง ทินกร ณ อยุธยา
กรณีศึกษาทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI) ที่ไม่ใช่ผู้ส
ผู้ป่วยชายอายุ 44 ปี มีอาการเจ็บหน้าอกขณะพักเป็นเวลา 90 นาที ซึ่งเกิดขณะหลับและไม่เคยมีอาการเช่นนี้มาก่อน อาการเจ็บมีลักษณะปวดตื้อ ๆ ลึก ๆ (dull aching) และปวดลามไปถึงขากรรไกรด้านซ้าย อาการไม่ทุเลาลงเมื่อนั่งพัก ไม่มีอาการผิดปกติอื่น ๆ  ไม่มีโรคประจำตัว ไม่มียาที่ใช้ประจำ ได้รับการวินิจฉัยเป็น acute STEMI ที่ anteroseptal wall ผลการประเมินปัจจัยเสี่ยงเพิ่มเติมพบว่า ผู้ป่วยมี BMI 33.9 kg/m2HbA1c 14.3%, LDL-C 211 mg/dL แพทย์พิจารณาเริ่มให้ยา high intensity statin ร่วมกับ ezetimibe และยากลุ่ม PCSK9 inhibitors เพื่อให้สามารถลดระดับ LDL-C ของผู้ป่วยรายนี้ให้ได้ตามเป้าหมาย คือ ต่ำกว่า 55 mg/dL หรือคิดเป็น 73% จาก baseline  ซึ่งการใช้ยาร่วมกันสามชนิดมีอัตราความสำเร็จในการลดระดับไขมันได้ถึง 85% โดยประมาณ

Resources

กรณีศึกษาทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI) ที่ไม่ใช่ผู้ส

กรณีศึกษาทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI) ที่ไม่ใช่ผู้สูงอายุและมีระดับ LDL-C สูงมาก

กรณีศึกษาทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI) ที่ไม่ใช่ผู้ส

กรณีศึกษาทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด ST-elevation myocardial infarction (STEMI) ที่ไม่ใช่ผู้สูงอายุและมีระดับ LDL-C สูงมาก